THE ULTIMATE GUIDE TO ด้วงสาคู

The Ultimate Guide To ด้วงสาคู

The Ultimate Guide To ด้วงสาคู

Blog Article

 หน้าแรก คอมมูนิตี้ แท็ก คลับ เลือกห้อง ดูเพิ่มเติม

นี่เป็นผลิตผลที่จะได้จากการเลี้ยงด้วงสาคูโดยธรรมชาติ หลังจากหนอนด้วงโตเต็มวัยพร้อมจับขายได้แล้ว พื้นที่เพาะเลี้ยงจะมีเศษอาหารและมูลด้วงสะสมอยู่ ก็สามารถตักไปทำปุ๋ยเพื่อจำหน่ายต่อได้ ราคาจำหน่ายของปุ๋ยจะขึ้นอยู่กับวิธีการแปรรูป เช่น ถ้านำไปหมักเป็นปุ๋ยน้ำก็จะได้ราคาแพงกว่าปุ๋ยด้วงสาคูที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการอะไรเลย เป็นต้น

เตือนภัยชาวสวนปาล์มระวังหนอนปลอกเล็กระบาด

ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) เป็นแมลงพื้นถิ่นที่นิยมเลี้ยงและบริโภคกันมากในพื้นที่ภาคใต้ เนื่องจากมีพืชอาหารที่สำคัญคือ ต้นลานหรือต้นสาคู โดยจะเลี้ยงบนท่อนลาน หรือท่อนสาคู ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงแบบประยุกต์ คือการนำไปเลี้ยงในกะละมัง และนำต้นสาคูบดมาเป็นอาหารเลี้ยงในกะละมัง ทำให้สะดวกในการเลี้ยงมากขึ้น สามารถใช้พื้นที่ในการเลี้ยงที่จำกัด ต่อมาได้ขยายพื้นที่การเลี้ยงไปยังภาคอื่น ๆ ในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสามารถขนส่งสาคูบดไปยังทุกภูมิภาคต่าง ๆ ได้สะดวก นอกจากนี้ยังสามารถใช้พืชอาหารอื่นทดแทนต้นสาคูและต้นลานได้ เช่น มันสำปะหลังเนื่องจากมีลักษณะเป็นแป้ง จึงนำมาผสมเป็นสูตรอาหารสำหรับด้วงได้สะดวกมากขึ้น และในปัจจุบันมีผู้คิดค้นสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงอย่างหลากหลาย จึงทำให้สามารถเลี้ยงได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) นำมาปรุงอาหารหลากหลายเมนู เช่น ทอด ปิ้ง คั่วเกลือ ด้วงสาคู ผัด เป็นต้น

ขั้นตอนการเลี้ยงแบบพัฒนา (ใช้กะละมัง) แบบการเลี้ยงโดยใช้อาหารผสมเอง

ด้วยลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบเชิงชีวภาพของด้วงสาคู ทำให้เหมาะสำหรับการแปรรูปเป็นอาหารได้หลากหลายวิธี ทั้งทอด นึ่ง และอบ ซึ่งแต่ละวิธีจะทำให้คุณค่าของสารอาหารเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันไป อันดับแรกที่ต้องพูดถึงคือโปรตีน สารอาหารสำคัญที่เป็นจุดขายของด้วงชนิดนี้ คุณพิมพ์เพ็ญและคุณนิธิยาให้ข้อมูลจากการทดลองเพื่อวิเคราะห์คุณค่าของด้วงสาคูไว้ว่า โปรตีนจะลดน้อยลงตามระดับความร้อน ทำให้ด้วงสาคูแบบสด แบบอบ แบบทอด และแบบนึ่ง มีปริมาณโปรตีนจากมากไปน้อยตามลำดับ ขณะที่ไขมันมีเพียงแบบทอดเท่านั้นที่เพิ่มปริมาณสูงขึ้นจากน้ำมันทอด ที่เหลือก็ไล่เลี่ยกันทั้งหมด ปริมาณคาร์โบไฮเดรตจะเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากเมื่อหนอนด้วงผ่านการแปรรูป แต่ก็เป็นคาร์โบไฮเดรตย่อยได้ง่าย สุดท้ายคือเนื้อสัมผัสที่ได้จากการอบจะแห้งที่สุด และแบบทอดจะมีความชื้นมากที่สุด

การเลี้ยงด้วงสาคูแบบประยุกต์ โดยใช้การเลี้ยงในกะละมัง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดชุมพร (ผึ้ง) แนะนำนว่า อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงประกอบด้วย

ปลูกกระเทียม ไว้กินเอง ในรั้วบ้าน อย่างง่าย

นำกิ่งทางปาล์มสดปลอดเปลือกและเข้าเครื่องสับบด

เทคนิคการเลี้ยงด้วงในวันนี้จะเป็นการเพาะเลี้ยงในกะละมังและนอกจากใช้ต้นอ้อยสับในการเพาะเลี้ยงแล้วยังสามารถแทนต้นอ้อยสับได้ด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อนได้เช่นเดียวกันค่ะมาดูกันว่ามีวัสดุและขั้นตอนวิธีการเลี้ยงตั้งแต่เริ่มต้นกันเลย วัสดุอุปกรณ์ส่วนผสมในการเตรียมอาหารและที่เพาะเลี้ยงด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าว

วัสดุอะไรก็ได้ที่มีน้ำหนักพอจะทับฝาที่ปิดกะละมัง

บทความถัดไปเมนูอาหารใต้ เคล็ดลับ และ วิธีทำ แกงพริกไก่ใส่หน่อไม้ดอง พร้อมสูตร การทำพริกแกงใต้

โรงเรือน ควรมีหลังคาและตาข่ายมุ้งลวดโดยรอบโรงเรือนเพื่อป้องกันตัวเต็มวัยเล็ดลอดไปในธรรมชาติและน้ำไม่ท่วมขัง

จับตัวด้วงตัวเต็มวัยที่ได้รวบรวมอีกกะละมังเพื่อคัดแยกเพศรอการผสมพันธุ์ก่อนนำไปปล่อยในกะละมังผลิตขยายหนอนด้วงสาคูต่อไป

Report this page